หลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์

หลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์

ชื่อหลักสูตร

  • ภาษาไทย : หลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์
  • ภาษาอังกฤษ : Master of Law Program in Laws

ชื่อปริญญาและสาขาวิชา

  • ภาษาไทย ชื่อเต็ม : นิติศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชานิติศาสตร์)
  • ชื่อย่อ : น.ม.
  • ภาษาอังกฤษ ชื่อเต็ม : Master of Law (Program in Laws)
  • ชื่อย่อ : LL.M.

ปรัชญาและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร

ปรัชญา

  • มหาบัณฑิตนิติศาสตร์ มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ การใช้และการตีความกฎหมายให้เข้าถึงแก่นแห่งความยุติธรรม นำองค์ความรู้ทางกฎหมายในระดับสูงไปแก้ปัญหาในสังคมบนพื้นฐานของคุณธรรม จริยธรรม และหลักนิติธรรม

วัตถุประสงค์ของหลักสูตร เพื่อให้ผู้เข้ารับการศึกษามีคุณสมบัติ ดังนี้

  1. ด้านความรู้ เพื่อให้มหาบัณฑิตผู้มีความรู้ทางกฎหมายในระดับสูง โดยยึดหลักนิติรัฐ นิติธรรม และสามารถนำหลักการที่ศึกษามาประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาสังคมและประเทศชาติได้
  2. ด้านทักษะ เพื่อให้มหาบัณฑิตมีความสามารถในการสร้างองค์ความรู้ทางกฎหมาย โดยการวิจัย วิเคราะห์และสังเคราะห์อย่างเป็นระบบ เกิดทักษะในการใช้กฎหมายสำหรับการแก้ปัญหาในชุมชนท้องถิ่นและประเทศชาติ
  3. ด้านเจตคติ เพื่อให้มหาบัณฑิตเข้าถึงปรัชญาของกฎหมายและความยุติธรรมยึดหลักวิชาชีพกฎหมาย มีคุณธรรม จริยธรรม มีความรับผิดชอบต่อสังคม และประเทศชาติบนฐานความรู้ คู่คุณธรรม

ระบบการจัดการศึกษา

การจัดการศึกษาเป็นระบบทวิภาค โดยหนึ่งปีการศึกษาแบ่งเป็น 2 ภาคการศึกษาปกติ มีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์ และให้มีภาคฤดูร้อนโดยกำหนดระยะเวลาไม่น้อยกว่า 8 สัปดาห์ และจัดเวลาเรียนในแต่ละสัปดาห์ไม่น้อยกว่า 2 เท่าของเวลาเรียนปกติ ซึ่งเป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา และประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2558 มีภาคฤดูร้อน ทั้งนี้ ต้องเป็นไปตามความเห็นชอบของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและคณะกรรมการบัณฑิตศึกษา

คุณสมบัติผู้สมัคร

  1. สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีสาขาวิชานิติศาสตร์จากสถาบันการศึกษาในประเทศ หรือ ต่างประเทศ ที่สภามหาวิทยาลัยให้การรับรอง และมีคุณสมบัติตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ว่าด้วยการจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
  2. มีผลการเรียนเฉลี่ยสะสมไม่น้อยกว่า 2.50 หรือมีประสบการณ์การทำงานในศาสตร์ ที่เกี่ยวข้องมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี หรือเป็นไปตามที่คณะกรรมการบริหารหลักสูตรกำหนด
  3. มีคุณสมบัติอื่นให้เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ว่าด้วยการ จัดการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา ทั้งนี้ให้อยู่ในดุลพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรเห็นสมควร

โครงสร้างหลักสูตร

หลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต จำนวนหน่วยกิต ไม่น้อยกว่า 42 หน่วยกิต แบ่งเป็น 2 แผน คือแผน ก แบบ ก 2 (ทำวิทยานิพนธ์) และแผน ข (การค้นคว้าอิสระ)

  • แผน ก แบบ ก 2 (ทำวิทยานิพนธ์)
    • หมวดวิชาพื้นฐาน 12 หน่วยกิต
    • หมวดวิชาบังคับ 12 หน่วยกิต
    • หมวดวิชาเลือก 6 หน่วยกิต
    • หมวดวิชาวิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต
    • หมวดวิชาเสริมไม่นับหน่วยกิต 2 รายวิชา
  • แผน ข (การค้นคว้าอิสระ)
    • หมวดวิชาพื้นฐาน 12 หน่วยกิต
    • หมวดวิชาบังคับ 18 หน่วยกิต
    • หมวดวิชาเลือก 6 หน่วยกิต
    • หมวดวิชาการค้นคว้าอิสระ 6 หน่วยกิต
    • หมวดวิชาเสริมไม่นับหน่วยกิต 2 รายวิชา

รายวิชาในหมวดต่าง ๆ

แผน ก แบบ ก 2 จำนวนไม่น้อยกว่า 42 หน่วยกิต

  • หมวดวิชาพื้นฐาน เรียนไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต
    • LAW๑๔๐๑ ระเบียบวิธีวิจัยทางกฎหมาย ๓(๓-๐-๖) Legal Research Methodology
    • LAW๑๔๐๒ ทฤษฎีและหลักกฎหมายอาญา ๓(๓-๐-๖) Theories and Principles of Criminal Law
    • LAW๑๔๐๓ ทฤษฎีและหลักกฎหมายมหาชน ๓(๓-๐-๖) Theories and Principle of Public Law
    • LAW๑๔๐๔ นิติปรัชญาและสังคมวิทยาทางกฎหมายขั้นสูง ๓(๓-๐-๖) Advanced Legal Philosophy and Sociology of Law
  • หมวดวิชาบังคับ นักศึกษาสามารถเลือกเรียนในกลุ่มวิชาใดวิชาหนึ่ง โดยเรียนไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต ดังนี้
    • กลุ่มวิชากฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม
    • LAW๑๕๐๑ สิทธิมนุษยชนกับกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ๓(๓-๐-๖) Human Right and Criminal Justice
    • LAW๑๕๐๒ กฎหมายอาญาเปรียบเทียบ ๓(๓-๐-๖) Comparative Criminal Law
    • LAW๑๕๐๓ การบริหารงานกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ๓(๓-๐-๖) Administration of Criminal Justice
    • LAW๑๕๐๔ อาชญาวิทยาและทัณฑวิทยาขั้นสูง ๓(๓-๐-๖) Advanced Criminology and Penology
    • กลุ่มวิชากฎหมายมหาชน
    • LAW๑๖๐๑ กฎหมายรัฐธรรมนูญและสถาบันการเมืองขั้นสูง ๓(๓-๐-๖) Advanced Constitutional Law and Political Institutions
    • LAW๑๖๐๒ กฎหมายปกครองเปรียบเทียบ ๓(๓-๐-๖) Comparative Administrative Law
    • LAW๑๖๐๓ กฎหมายการปกครองท้องถิ่น ๓(๓-๐-๖) Local Administration Law
    • LAW๑๖๐๔ กฎหมายจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง ๓(๓-๐-๖) Administrative Court Establishment Laws and Procedure Administrative Case
  • หมวดวิชาเลือก เลือกเรียนไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต
    • LAW๑๗๐๑ อาชญากรรมทางเศรษฐกิจ ๓(๓-๐-๖) Economic Crime
    • LAW๑๗๐๒ กฎหมายแรงงานกับปัญหาแรงงาน ๓(๓-๐-๖) Labour Law and Labour Problems
    • LAW๑๗๐๓ กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งเปรียบเทียบ ๓(๓-๐-๖) Comparative Civil Procedures Law
    • LAW๑๗๐๔ กฎหมายฟื้นฟูกิจการและล้มละลาย ๓(๓-๐-๖) Bankruptcy and Business Reorganization
    • LAW๑๗๐๕ กฎหมายพาณิชย์ขั้นสูง ๓(๓-๐-๖) Advanced Commercial Law
    • LAW๑๗๐๖ ปัญหากฎหมายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ๓(๓-๐-๖) Special Problems in Natural Resources and Environmental Law
    • LAW๑๗๐๗ กฎหมายกับเศรษฐศาสตร์ไทย ๓(๓-๐-๖) Law and Thai Economics
    • LAW๑๗๐๘ กฎหมายอาเซียนและระบบกฎหมายของประเทศอาเซียน ๓(๓-๐-๖) ASEAN Law and Legal Systems in ASEAN
    • LAW๑๗๐๙ กฎหมายเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ ๓(๓-๐-๖) Law on information Technology
    • LAW๑๗๑๐ กฎหมายสัญญาและละเมิดขั้นสูง ๓(๓-๐-๖) Advanced Contract and Tort Law
    • LAW๑๗๑๑ กฎหมายการจัดการความขัดแย้งและวิธีระงับข้อพิพาททางอาญา ๓(๓-๐-๖) Law on Conflict Management and Criminal Alternative Dispute Resolution
    • LAW๑๗๑๒ การยุติธรรมเชิงเยียวยากับการไกล่เกลี่ยฟื้นความสัมพันธ์ในคดีอาญา ๓(๓-๐-๖) Restorative Justice and Criminal Restorative Mediation
    • LAW๑๗๑๓ กฎหมายอาญาระหว่างประเทศ ๓(๓-๐-๖) International Criminal Law
    • LAW๑๗๑๔ กฎหมายว่าด้วยการบังคับโทษ ๓(๓-๐-๖) Penalty law
    • LAW๑๗๑๕ ภาษาอังกฤษสำหรับนักกฎหมาย ๓(๓-๐-๖) English for Lawyer
    • LAW๑๗๑๖ กฎหมายรัฐสภา ๓(๓-๐-๖) Parliament Law
    • LAW๑๗๑๗ กฎหมายเกี่ยวกับระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ๓(๓-๐-๖) Administration of State Affairs Law
    • LAW๑๗๑๘ กฎหมายว่าด้วยพรรคการเมือง ๓(๓-๐-๖) Law on Political Parties
    • LAW๑๗๑๙ กฎหมายเลือกตั้ง ๓(๓-๐-๖) Election Law
    • LAW๑๗๒๐ กฎหมายและนโยบายของรัฐเกี่ยวกับสตรี ๓(๓-๐-๖) Law and State Policy on Women
    • LAW๑๗๒๑ กฎหมายเกี่ยวกับทรัพย์สินของแผ่นดิน ๓(๓-๐-๖) Law on Public Domain
    • LAW๑๗๒๒ กฎหมายข้อมูลข่าวสารของราชการและสิทธิส่วนบุคคล ๓(๓-๐-๖) Law on Public Information Access and Rights of Privacy
    • LAW๑๗๒๓ ศาลรัฐธรรมนูญและวิธีพิจารณาคดีรัฐธรรมนูญ ๓(๓-๐-๖) Constitutional Court and Constitutional Procedure
    • LAW๑๗๒๔ กฎหมายการบริหารงานบุคคลภาครัฐ ๓(๓-๐-๖) Law on Public Personnel Management
    • LAW๑๗๒๕ กฎหมายเกี่ยวกับการเงินธุรกิจ ๓(๓-๐-๖) Corporate Finance Law
    • LAW๑๗๒๖ กฎหมายระหว่างประเทศว่าด้วยสิ่งแวดล้อม ๓(๓-๐-๖) International Environmental Law
    • LAW๑๗๒๗ กฎหมายว่าด้วยอนุญาโตตุลาการ ๓(๓-๐-๖) Arbitration Law
    • LAW๑๗๒๘ กฎหมายครอบครัวและมรดกเปรียบเทียบ ๓(๓-๐-๖) Comparative Family and Succession Law
    • LAW๑๗๒๙ กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค ๓(๓-๐-๖) Consumer Protection Law
    • LAW๑๗๓๐ ปัญหาขั้นสูงในกฎหมายอาญา ๓(๓-๐-๖) Advanced Problems in Criminal Law
    • LAW๑๗๓๑ ทฤษฎีและหลักกฎหมายเอกชน ๓(๓-๐-๖) Theories and Principle of Private Law
  • หมวดวิชาวิทยานิพนธ์
    • LAW๑๙๐๑ วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต Thesis
  • หมวดวิชาเสริม ไม่นับหน่วยกิต
    • ENG๑๐๐๑ ภาษาอังกฤษสำหรับนักศึกษาบัณฑิตศึกษา ๓(๒-๒-๕) English for Graduate Students
    • COM๑๐๐๑ เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับนักศึกษาบัณฑิตศึกษา ๓(๒-๒-๕) Information Technology for Graduate Students

แผน ข จำนวนหน่วยกิตไม่น้อยกว่า 42 หน่วยกิต

  • หมวดวิชาพื้นฐาน เรียนไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต
    • LAW๑๔๐๑ ระเบียบวิธีวิจัยทางกฎหมาย ๓(๓-๐-๖) Legal Research Methodology
    • LAW๑๔๐๒ ทฤษฎีและหลักกฎหมายอาญา ๓(๓-๐-๖) Theories and Principles of Criminal Law
    • LAW๑๔๐๓ ทฤษฎีและหลักกฎหมายมหาชน ๓(๓-๐-๖) Theories and Principle of Public Law
    • LAW๑๔๐๔ นิติปรัชญาและสังคมวิทยาทางกฎหมายขั้นสูง ๓(๓-๐-๖) Advanced Legal Philosophy and Sociology of Law
  • หมวดวิชาบังคับ นักศึกษาสามารถเลือกเรียนในกลุ่มวิชาใดวิชาหนึ่ง โดยเรียนไม่น้อยกว่า ๑๘ หน่วยกิต ดังนี้
    • กลุ่มวิชากฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม
    • LAW๑๕๐๑ สิทธิมนุษยชนกับกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ๓(๓-๐-๖) Human Right and Criminal Justice
    • LAW๑๕๐๒ กฎหมายอาญาเปรียบเทียบ ๓(๓-๐-๖) Comparative Criminal Law
    • LAW๑๕๐๓ การบริหารงานกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ๓(๓-๐-๖) Administration of Criminal Justice
    • LAW๑๕๐๔ อาชญาวิทยาและทัณฑวิทยาขั้นสูง ๓(๓-๐-๖) Advanced Criminology and Penology
    • LAW๑๕๐๕ กฎหมายลักษณะพยานขั้นสูง ๓(๓-๐-๖) Evidence Advanced Law
    • LAW๑๕๐๖ กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาเปรียบเทียบ ๓(๓-๐-๖) Comparative Criminal Procedures Law
    • กลุ่มวิชากฎหมายมหาชน
    • LAW๑๖๐๑ กฎหมายรัฐธรรมนูญและสถาบันการเมืองขั้นสูง ๓(๓-๐-๖) Advanced Constitutional Law and Political Institutions
    • LAW๑๖๐๒ กฎหมายปกครองเปรียบเทียบ ๓(๓-๐-๖) Comparative Administrative Law
    • LAW๑๖๐๓ กฎหมายการปกครองท้องถิ่น ๓(๓-๐-๖) Local Administration Law
    • LAW๑๖๐๔ กฎหมายจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง ๓(๓-๐-๖) The arrangement of Administrative Court and Advanced Administrative Procedure Law
    • LAW๑๖๐๕ ปัญหาขั้นสูงในกฎหมายมหาชน ๓(๓-๐-๖) Advanced Problems in Public Law
    • LAW๑๖๐๖ สัมมนาทางกฎหมาย ๓(๓-๐-๖) Seminar in Law
  • หมวดวิชาเลือก เลือกเรียนไม่น้อยกว่า ๖ หน่วยกิต
    • LAW๑๗๐๑ อาชญากรรมทางเศรษฐกิจ ๓(๓-๐-๖) Economic Crime
    • LAW๑๗๐๒ กฎหมายแรงงานกับปัญหาแรงงาน ๓(๓-๐-๖) Labour Law and Labour Problems
    • LAW๑๗๐๓ กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งเปรียบเทียบ ๓(๓-๐-๖) Comparative Civil Procedures Law
    • LAW๑๗๐๔ กฎหมายฟื้นฟูกิจการและล้มละลาย ๓(๓-๐-๖) Bankruptcy and Business Reorganization
    • LAW๑๗๐๕ กฎหมายพาณิชย์ขั้นสูง ๓(๓-๐-๖) Advanced Commercial Law
    • LAW๑๗๐๖ ปัญหากฎหมายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ๓(๓-๐-๖) Special Problems in Natural Resources and Environmental Law
    • LAW๑๗๐๗ กฎหมายกับเศรษฐศาสตร์ไทย ๓(๓-๐-๖) Law and Thai Economics
    • LAW๑๗๐๘ กฎหมายอาเซียนและระบบกฎหมายของประเทศอาเซียน ๓(๓-๐-๖) ASEAN Law and Legal Systems in ASEAN
    • LAW๑๗๐๙ กฎหมายเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ ๓(๓-๐-๖) Law on information Technology
    • LAW๑๗๑๐ กฎหมายสัญญาและละเมิดขั้นสูง ๓(๓-๐-๖) Advanced Contract and Tort Law
    • LAW๑๗๑๑ กฎหมายการจัดการความขัดแย้งและวิธีระงับข้อพิพาททางอาญา ๓(๓-๐-๖) Law on Conflict Management and Criminal Alternative Dispute Resolution
    • LAW๑๗๑๒ การยุติธรรมเชิงเยียวยากับการไกล่เกลี่ยฟื้นความสัมพันธ์ในคดีอาญา ๓(๓-๐-๖) Restorative Justice and Criminal Restorative Mediation
    • LAW๑๗๑๓ กฎหมายอาญาระหว่างประเทศ ๓(๓-๐-๖) International Criminal Law
    • LAW๑๗๑๔ กฎหมายว่าด้วยการบังคับโทษ ๓(๓-๐-๖) Penalty law
    • LAW๑๗๑๕ ภาษาอังกฤษสำหรับนักกฎหมาย ๓(๓-๐-๖) English for Lawyer
    • LAW๑๗๑๖ กฎหมายรัฐสภา ๓(๓-๐-๖) Parliament Law
    • LAW๑๗๑๗ กฎหมายเกี่ยวกับระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ๓(๓-๐-๖) Administration of State Affairs Law
    • LAW๑๗๑๘ กฎหมายว่าด้วยพรรคการเมือง ๓(๓-๐-๖) Law on Political Parties
    • LAW๑๗๑๙ กฎหมายเลือกตั้ง ๓(๓-๐-๖) Election Law
    • LAW๑๗๒๐ กฎหมายและนโยบายของรัฐเกี่ยวกับสตรี ๓(๓-๐-๖) Law and State Policy on Women
    • LAW๑๗๒๑ กฎหมายเกี่ยวกับทรัพย์สินของแผ่นดิน ๓(๓-๐-๖) Law on Public Domain
    • LAW๑๗๒๒ กฎหมายข้อมูลข่าวสารของราชการและสิทธิส่วนบุคคล ๓(๓-๐-๖) Law on Public Information Access and Rights of Privacy
    • LAW๑๗๒๓ ศาลรัฐธรรมนูญและวิธีพิจารณาคดีรัฐธรรมนูญ ๓(๓-๐-๖) Constitutional Court and Constitutional Procedure
    • LAW๑๗๒๔ กฎหมายการบริหารงานบุคคลภาครัฐ ๓(๓-๐-๖) Law on Public Personnel Management
    • LAW๑๗๒๕ กฎหมายเกี่ยวกับการเงินธุรกิจ ๓(๓-๐-๖) Corporate Finance Law
    • LAW๑๗๒๖ กฎหมายระหว่างประเทศว่าด้วยสิ่งแวดล้อม ๓(๓-๐-๖) International Environmental Law
    • LAW๑๗๒๗ กฎหมายว่าด้วยอนุญาโตตุลาการ ๓(๓-๐-๖) Arbitration Law
    • LAW๑๗๒๘ กฎหมายครอบครัวและมรดกเปรียบเทียบ ๓(๓-๐-๖) Comparative Family and Succession Law
    • LAW๑๗๒๙ กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค ๓(๓-๐-๖) Consumer Protection Law
    • LAW๑๗๓๐ ปัญหาขั้นสูงในกฎหมายอาญา ๓(๓-๐-๖) Advanced Problems in Criminal Law
    • LAW๑๗๓๑ ทฤษฎีและหลักกฎหมายเอกชน ๓(๓-๐-๖) Theories and Principle of Private Law
  • หมวดวิชาการค้นคว้าอิสระ
    • LAW๑๘๐๑ การค้นคว้าอิสระ 6 หน่วยกิต Independent Study
  • หมวดวิชาเสริม ไม่นับหน่วยกิต
    • ENG๑๐๐๑ ภาษาอังกฤษสำหรับนักศึกษาบัณฑิตศึกษา ๓(๒-๒-๕) English for Graduate Students
    • COM๑๐๐๑ เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับนักศึกษาบัณฑิตศึกษา ๓(๒-๒-๕) Information Technology for Graduate Students

คณะกรรมการประจำหลักสูตร

รศ.ดร.จิตรดารมย์ รัตนวุฒิ

รศ.ดร.จิตรดารมย์ รัตนวุฒิ

ประธานกรรมการประจำหลักสูตรฯ

นิติศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธัญญาภัส ทองมุสิทธิ์

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธัญญาภัส ทองมุสิทธิ์

กรรมการประจำหลักสูตรฯ

นิติศาสตรดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีปทุม

ดร.นพดล ทัดระเบียบ

ดร.นพดล ทัดระเบียบ

กรรมการประจำหลักสูตรฯ

นิติศาสตรดุษฎีบัณฑิต (น.ด.) (Doctor of Laws Program)